การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
วันอังคารที่ 12 กันยายนพ.ศ.2560
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เพื่อนนำเสนอวิจัยผู้นำเสนอคือ นางสาวศุภพิชญ์ กาบบาลี เลขที่2 นำเสนอวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยจุดมุ่งหมายของวิจัยนี้คือเพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจำแนกรายทักษะก่อนและหลังกาเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทำวิจัยกับเด็กอนุบาล 2 โรงเรียนวัดยางสุทธาราม จำนวน 120 คน ผ่านเครื่องมือคือแผนการสอนและแบบทดสอบก่อนและหลัง โดยได้ผลสรุปคือ เด็กมีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
⭆การเปลี่ยนแปลง (Change)⤏การเจริญเติบโตของมนุษย์ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
⭆ความแตกต่าง (Variety)⤏ต้นไม้เดียวกันแต่ละกิ่งไม่เหมือนกัน
⭆การปรับตัว (Adjustment)⤏การสร้างบ้านให้เหมาะกัยสภาพภูมิอากาศ เช่น ภาคอีสานอากาศร้อนจึงต้องสร้างบ้านสูง
⭆การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutually)⤏นกเอี้ยงกับควาย
⭆ความสมดุลย์ (Equilibrium)⤏ทุกสิ่งในโลกล้วนต้องปรับตัวให้ตัวเองอยู่รอด
องค์ประกอบของวิทยาสตร์
⭆องค์ประกอบด้านความรู้เนื้อหา
⭆องค์ประกอบด้านเจตคติ
⭆องค์ประกอบด้านกระบวนการ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะต้องอยู่บนเงื่อนไข3ประการคือ
🔺จะต้องเป็นความรู้ของธรรมชาติ
🔺จะต้องได้จากกระบวนการสืบเสาะหาวามรู้แบบวิทยาศาสตร์เข้าศึกษาค้นคว้า
🔺ผ่านการทดสอบว่าเป็นความจริง
จำแนกออกเป็น5ประเภท
1.ข้อเท็จจริง(Fact) เช่นน้ำไหลจากที่สูงไปหาต่ำ
2.มโนมติหรือความคิดรวบยอด (Concept) เช่น แมลงเป็นสัตว์ที่มี6ขาและลำตัวแบ่งเป็น3ส่วน
3.หลักการ (Principle) เช่น ก๊าซเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
4.กฎ (Law) เช่น น้ำเมื่อเย็นตังลงจนเป็นน้ำแข็งปริมาตรของมันจะมากขึ้น
5.ทฤษฎี (Theory) เป็นการทดลองมีข้อเท็จจริง คนทั่วไปยอมรับ
วิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
⭆ขั้นสังเกต (Observation)
⭆ขั้นตั้งปัญหา (State Problem)
⭆ขั้นตั้งสมมติฐาน (Make a Hypothesis)
⭆ขั้นทดสอบสมมติฐาน (Testing Hypothesis)
⭆ขั้นสรุป (Conclusion)
⧭หลังจากนั้นอาจารย์ให้หาของเล่น งานสื่อเข้ามุม และการทดลองที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มานำเสนออาจารย์
การนำไปใช้
เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ที่เราสามารถนำมาสอนเด็กปฐมวัยได้
การประเมิน
ตนเอง➤ตั้งใจเรียน ฟังเพื่อนนำเสนอ ร่วมมือกับอาจารย์
อาจารย์➤สอนเข้าใจละเอียด คอยถามคำถามเพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
สภาพแวดล้อม➤เพื่อนๆร่วมมือกันดีแต่มีบางครั้งเพื่อนไม่ตั้งใจฟังอาจารย์
Vocabulary
1.Change = การเปลี่ยนแปลง
2.Variety = ความแตกต่าง
3.Adjustment = การปรับตัว
4.Mutually = การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
5.Equilibrium = ความสมดุลย์
6.Fact = ข้อเท็จจริง
7.Concept = ความคิดรวบยอด
8.Principle = หลักการ
9.Law = กฎ
10.Theory = ทฤษฎี
11.Observation = ขั้นสังเกต
12.State Problem = ขั้นตั้งปัญหา
13.Make a Hypothesis = ขั้นตั้งสมมติฐาน
14.Testing Hypothesis = ขั้นทดสอบสมมติฐาน
15.Conclusion = ขั้นสรุป
วันนี้เพื่อนนำเสนอวิจัยผู้นำเสนอคือ นางสาวศุภพิชญ์ กาบบาลี เลขที่2 นำเสนอวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยจุดมุ่งหมายของวิจัยนี้คือเพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจำแนกรายทักษะก่อนและหลังกาเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทำวิจัยกับเด็กอนุบาล 2 โรงเรียนวัดยางสุทธาราม จำนวน 120 คน ผ่านเครื่องมือคือแผนการสอนและแบบทดสอบก่อนและหลัง โดยได้ผลสรุปคือ เด็กมีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
⭆การเปลี่ยนแปลง (Change)⤏การเจริญเติบโตของมนุษย์ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
⭆ความแตกต่าง (Variety)⤏ต้นไม้เดียวกันแต่ละกิ่งไม่เหมือนกัน
⭆การปรับตัว (Adjustment)⤏การสร้างบ้านให้เหมาะกัยสภาพภูมิอากาศ เช่น ภาคอีสานอากาศร้อนจึงต้องสร้างบ้านสูง
⭆การพึ่งพาอาศัยกัน (Mutually)⤏นกเอี้ยงกับควาย
⭆ความสมดุลย์ (Equilibrium)⤏ทุกสิ่งในโลกล้วนต้องปรับตัวให้ตัวเองอยู่รอด
องค์ประกอบของวิทยาสตร์
⭆องค์ประกอบด้านความรู้เนื้อหา
⭆องค์ประกอบด้านเจตคติ
⭆องค์ประกอบด้านกระบวนการ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะต้องอยู่บนเงื่อนไข3ประการคือ
🔺จะต้องเป็นความรู้ของธรรมชาติ
🔺จะต้องได้จากกระบวนการสืบเสาะหาวามรู้แบบวิทยาศาสตร์เข้าศึกษาค้นคว้า
🔺ผ่านการทดสอบว่าเป็นความจริง
จำแนกออกเป็น5ประเภท
1.ข้อเท็จจริง(Fact) เช่นน้ำไหลจากที่สูงไปหาต่ำ
2.มโนมติหรือความคิดรวบยอด (Concept) เช่น แมลงเป็นสัตว์ที่มี6ขาและลำตัวแบ่งเป็น3ส่วน
3.หลักการ (Principle) เช่น ก๊าซเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
4.กฎ (Law) เช่น น้ำเมื่อเย็นตังลงจนเป็นน้ำแข็งปริมาตรของมันจะมากขึ้น
5.ทฤษฎี (Theory) เป็นการทดลองมีข้อเท็จจริง คนทั่วไปยอมรับ
วิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
⭆ขั้นสังเกต (Observation)
⭆ขั้นตั้งปัญหา (State Problem)
⭆ขั้นตั้งสมมติฐาน (Make a Hypothesis)
⭆ขั้นทดสอบสมมติฐาน (Testing Hypothesis)
⭆ขั้นสรุป (Conclusion)
⧭หลังจากนั้นอาจารย์ให้หาของเล่น งานสื่อเข้ามุม และการทดลองที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มานำเสนออาจารย์
การนำไปใช้
เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ที่เราสามารถนำมาสอนเด็กปฐมวัยได้
การประเมิน
ตนเอง➤ตั้งใจเรียน ฟังเพื่อนนำเสนอ ร่วมมือกับอาจารย์
อาจารย์➤สอนเข้าใจละเอียด คอยถามคำถามเพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
สภาพแวดล้อม➤เพื่อนๆร่วมมือกันดีแต่มีบางครั้งเพื่อนไม่ตั้งใจฟังอาจารย์
Vocabulary
1.Change = การเปลี่ยนแปลง
2.Variety = ความแตกต่าง
3.Adjustment = การปรับตัว
4.Mutually = การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
5.Equilibrium = ความสมดุลย์
6.Fact = ข้อเท็จจริง
7.Concept = ความคิดรวบยอด
8.Principle = หลักการ
9.Law = กฎ
10.Theory = ทฤษฎี
11.Observation = ขั้นสังเกต
12.State Problem = ขั้นตั้งปัญหา
13.Make a Hypothesis = ขั้นตั้งสมมติฐาน
14.Testing Hypothesis = ขั้นทดสอบสมมติฐาน
15.Conclusion = ขั้นสรุป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น